DETAILS, FICTION AND อาชญากรรม - สังคม

Details, Fiction and อาชญากรรม - สังคม

Details, Fiction and อาชญากรรม - สังคม

Blog Article

สรุปได้ว่า อาชญากรรมในความหมายอย่างแคบ คือ พฤติกรรมที่เป็นการละเมิดต่อกฎหมายอาญาเท่านั้น โดยการพิจารณาพฤติกรรมการกระทำของบุคคลในสังคมตามข้อกำหนดของกฎหมายอาญาเท่านั้น ไม่ได้คำนึงถึงเจตนา หรือลักษณะของความผิดแต่อย่างใด

อำนาจราชทัณฑ์กับการเมืองหลังพักโทษ

วิดีโอ, ฝุ่น : ชาวเชียงใหม่เกือบแสนป่วยจากหมอกควันพิษ

รัฐควรให้ความยุติธรรมไม่ใช่การแก้แค้น เหยื่อและครอบครัวสมควรได้รับความยุติธรรม การที่เราออกมาเรียกร้องให้ยกเลิกโทษประหารชีวิตไม่ได้หมายถึงการห้ามไม่ให้ลงโทษผู้กระทำความผิด เรายืนยันเสมอว่าคนทำผิดจะต้องได้รับโทษและเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมที่มีการพิจารณาคดีอย่างเป็นธรรม อย่างไรก็ตามรัฐบาลไม่ควรใช้ความโกรธแค้นของครอบครัวเหยื่อมาเป็นเหตุผลในการละเมิดสิทธิมนุษยชนของผู้ที่ถูกตัดสินว่าก่ออาชญากรรม และไม่ควรทำให้วงจรแห่งความรุนแรงยังคงอยู่ในสังคมต่อไป

ทฤษฎีวิจารณ์เป็นทฤษฎีประเภทหนึ่งที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อวิจารณ์สังคม โครงสร้างทางสังคม และระบบอำนาจ และเพื่อส่งเสริมการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างเท่าเทียม

คำตอบ: เราควรมีทัศนคติใหม่ต่อผู้ที่กระทำความผิด ไม่ควรคิดเพียงแค่มุมเดียวว่าพวกเขาเป็นผู้ร้ายที่สมควรได้รับการลงโทษอย่างสาสม แต่ควรคิดว่าพวกเขาก็เป็นส่วนหนึ่งของผลผลิตทางสังคมเหมือนเช่นเรา และการลงโทษนั้นต้องไม่เป็นไปเพื่อการแก้แค้นทดแทนแต่ต้องเป็นไปเพื่อการแก้ไขเยียวยา เพราะการที่พวกเขากระทำความผิดย่อมหมายถึงบางสิ่งบางอย่างในสังคมของเราทำหน้าที่ผิดเพี้ยนไป สิ่งที่เราควรที่จะคิดกระทำไม่ใช่การกำจัดพวกเขาให้ออกไปจากสังคม แต่เราควรที่จะคิดหาต้นตอของปัญหา ฟันเฟืองที่ทำงานผิดพลาดเพื่อหาวิธีการแก้ไข

ภาพการล่วงละเมิดเด็กที่สร้างโดยเอไอ click here กำลังทำให้เกิดปัญหาทางกฎหมายและจริยธรรม

ครอบครัวกุญแจสำคัญป้องกันเด็กกลายเป็นอาชญากร

จำนวนปีที่ประเทศไทยปราศจากการประหารชีวิต

นอกจากนั้น ระบบยุติธรรมทางอาญาต่างก็มีความเสี่ยงที่จะเกิดการเลือกปฏิบัติและมีข้อผิดพลาดได้ทั้งนั้น ไม่มีระบบใดในโลกสามารถตัดสินว่าใครจะอยู่หรือใครจะตายอย่างเป็นธรรมได้โดยไม่มีข้อบกพร่อง การเร่งรัดกระบวนการการตัดสินใจโดยใช้อัตวินิจฉัยและความเห็นของสาธารณะอาจมีอิทธิพลต่อขั้นตอนปฏิบัติงานตั้งแต่การจับกุมในเบื้องต้นไปจนถึงวินาทีสุดท้ายของการขออภัยโทษ

หน้าแรก→ข่าวสารและสาระความรู้→ข่าวสารและความเคลื่อนไหว→ข่าวสารจุฬาฯ

"ถ้าเราไม่ปรับตัว เราคงอยู่ในสังคมไม่ได้" ฟังเสียงศิษย์เก่าอุเทนถวาย ที่ไม่อยากให้รุ่นน้องย้ายออก

ปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามาเปลี่ยนแปลงรูปแบบการใช้ชีวิตของผู้คนอย่างไม่มีวันหวนกลับ ทั้งการทำธุรกรรมทางการเงิน การเสพความบันเทิง และการติดต่อสื่อสาร เมื่อตัวตนของเราได้เข้าไปใช้ชีวิตบนโลกออนไลน์มากขึ้น การก่ออาชญากรรมจึงไม่ได้มาในรูปแบบ ‘ลัก-จี้-ชิง-ปล้น’ สร้างความเสียหายในเชิงกายภาพอย่างที่ผ่านมา แต่ตามติดชีวิตของผู้คนไปสู่การสร้างความเสียหายในโลกเสมือน

ในรายงานเรื่อง “การประหารชีวิตที่อยุติธรรมในภูมิภาคเอเชีย” ได้มีการทบทวนคดีต่างๆ ที่เกิดขึ้น ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความร้ายแรงของการใช้โทษประหารชีวิต การตัดสินว่าใครจะถูกประหารและใครที่จะรอด มักไม่ได้ขึ้นอยู่กับพฤติการณ์ของความผิด แต่ขึ้นอยู่กับชาติพันธุ์หรืออัตลักษณ์อื่นๆ ของจำเลยเองด้วย ขึ้นอยู่กับสถานะทางเศรษฐกิจหรือสังคมของบุคคล หรือขึ้นอยู่กับความสามารถของจำเลยที่จะทำความเข้าใจและเจรจาในระหว่างการไต่สวนคดี หรือการได้รับความช่วยเหลือและเข้าถึงทนายความอย่างเพียงพอ รวมไปถึงปัจจัยอื่นๆ ที่สามารถทำให้จำเลยจะสามารถท้าทายความไม่เป็นธรรมของระบบยุติธรรมทางอาญาที่มุ่งผลักดันตนเองให้เข้าสู่หนทางแห่งความตายได้

Report this page